เพิ่มเพื่อน LINE OFFICIAL RAMATHIBODI

เพิ่มเพื่อน LINE OFFICIAL RAMATHIBODI

 
โรคฉี่หนู ภัยเงียบหลังน้ำท่วม

เป็นโรคติดต่อจากสัตว์สู่คน เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียรูปเกลียว สามารถไชเข้าผิวหนังและอาจเข้าทางเยื่อบุตา จมูก หรือปาก

 
ต่อมน้ำลายบวม เสี่ยง ! คางทูม

โรคติดเชื้อไวรัสคางทูม (มัมส์, Mumps) ทำให้ต่อมน้ำลายที่ขากรรไกร และหน้าหูเกิดการอักเสบ ติดต่อจากการสัมผัสละอองฝอยของผู้ที่ติดเชื้อผ่านทางสารคัดหลั่งจากการไอ และจาม

 
พฤติกรรม เสี่ยงโรคกระดูกพรุน

กระดูกพรุน เกิดจากความหนาแน่นของกระดูกบริเวณกระดูกสันหลัง กระดูกสะโพก หรือข้อมือน้อยกว่า -2.5 เนื่องจากมีการสูญเสียมวลกระดูก ทำให้กระดูกบาง ทรุด หรือแตกหักได้ง่าย

 
3 ความเชื่อ ตะคริวในผู้สูงอายุ

ตะคริว เป็นอาการหดเกร็งอย่างเฉียบพลันของกล้ามเนื้อหรือกล้ามเนื้อเกร็งเป็นก้อน ซึ่งสามารถเกิดได้ทุกส่วนของร่างกาย มักหายได้เอง หากเป็นบ่อยและมีอาการอื่นร่วมด้วย เช่น ชา แสบร้อน พักแล้วไม่หาย ขาซีด ควรพบแพทย์เพื่อทำการวินิจฉัย

 
โรคกลัวสังคมคืออะไร ?

โรคกลัวสังคม เป็นความรู้สึกกังวลเมื่อต้องอยู่ในสถานการณ์ ที่ต้องพบปะผู้คน โดยกลัวว่าจะถูกผู้อื่นมองหรือตัดสินในทางลบ เช่น ตลก น่าเบื่อ อ่อนแอ ไม่เก่ง จนกระทั่งต้องหลีกเลี่ยงสถานการณ์ต่าง ๆ และส่งผลกับชีวิตประจำวัน

 
พยาธิใบไม้ปอด อันตรายจากการกินของดิบ

เป็นพยาธิที่มีลำตัวแบนด้านท้องคล้ายใบไม้ เข้าสู่ร่างกายจากการกินปูน้ำจืด หรือกุ้งที่ไม่ผ่านการปรุงสุก โดยพยาธิจะชอนไชทะลุผนังลำไส้และเข้าไปฝังตัวที่ปอด

 
เลือดกำเดาไหล อาการแบบไหนต้องไปพบแพทย์

เป็นภาวะที่เส้นเลือดฝอยในโพรงจมูกแตกหรือฉีกขาดทำให้มีเลือดออกทางโพรงจมูก เกิดจากสภาพอากาศร้อนจัด โรคภูมิแพ้ หรือการได้รับอุบัติเหตุรุนแรงบริเวณจมูก

 
5 สัญญาณอันตราย!! มะเร็งผิวหนังที่ต้องสังเกต

เกิดจากความผิดปกติของการเจริญเติบโตการแบ่งเซลล์บริเวณผิวหนังและเซลล์สร้างเม็ดสี เกิดได้กับทุกส่วน ของร่างกาย โดยเฉพาะบริเวณที่ถูกแสงแดดหรือรังสียูวีเป็นเวลานาน

 
ไฟดูด ปฐมพยาบาลเบื้องต้นอย่างไร

ไฟดูด เกิดจากร่างกายสัมผัสโดนกระแสไฟรั่วไหลเข้าสู่ร่างกาย ทำให้กล้ามเนื้อเกร็งและหัวใจทำงานผิดปกติ

 
9 อาการไซนัสอักเสบ โรคใกล้ตัวที่ต้องสังเกต

โซนัสอักเสบ เกิดจากการอักเสบและการติดเชื้อ ของเยื่อบุจมูกและไซนัส ทำให้ร่างกายผลิตสารคัดหลั่ง จนเกิดการอุดตันและอาจกลายเป็นหนองในโพรงไซนัส

 
โรคไตวายระยะสุดท้าย รักษาอย่างไร ?

ภาวะที่ไตทำงานลดน้อยลง ไม่สามารถรักษาด้วยการคุมอาหารหรือกินยา ต้องรักษาด้วยการบำบัดทดแทนไต

 
แอลกอฮอล์เป็นพิษ สายปารตี้ต้องระวัง

ภาวะที่ร่างกายมีระดับแอลกอฮอล์ในเลือดมากกว่า 400 มิลลิกรัม ทำให้ตับไม่สามารถขับออกจากเลือด อาจเกิดภาวะช็อกได้