ตำแหน่งสถาน : อาคาร 1 ชั้น 4 ภาควิชาพยาธิวิทยา คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
หมายเลขโทรศัพท์ : 02-201-1431, 02-201-2247
วันและเวลาทำการ : จันทร์ - ศุกร์ เวลา 8.30 - 16.30 น.
บุคลากรภายในหน่วย :
![]() |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์แพทย์หญิงรังสิมา อรุณโรจน์ หัวหน้าห้องปฏิบัติการศัลยพยาธิวิทยา |
![]() |
สาริศา มั่นคง นักวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์ |
![]() |
สุธาภา ฉลาดธัญญกิจ นักวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์ |
![]() |
รสสุคนธ์ เลื่อนลอย นักวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์ |
![]() |
วิชุดา วงพีระ นักวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์ |
![]() |
นรญาน์ สุขุมวาท นักวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์ |
![]() |
สุกัญญา ธีราธนารัศมิ์ นักวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์ |
![]() |
อรวรรณ เพ็งศรี ผู้ปฏิบัติงานวิทยาศาสตร์ |
![]() |
บัณฑิต แซ่โง้ว ผู้ปฏิบัติงานวิทยาศาสตร์ |
![]() |
สัญญา วิชัยโย พนักงานวิทยาศาสตร์ ระดับ 1 |
![]() |
สาธิต กุลภควา ผู้ปฏิบัติงานวิทยาศาสตร์ |
![]() |
สุนีย์ หงษ์คำ ผู้ปฏิบัติงานบริหาร |
การให้บริการ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการศัลยพยาธิวิทยา เป็นการตรวจชิ้นเนื้อ ที่ได้จากการผ่าตัดซึ่งเริ่มด้วย การตรวจพยาธิสภาพด้วยตา เปล่าโดยพยาธิแพทย์ แล้วจึงนำไปตัดเป็นสไลด์ชิ้น เนื้อและย้อมสีจากนั้นพยาธิ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญ ด้านพยาธิวิทยากายวิภาค จะตรวจหาพยาธิสภาพด้วยกล้องจุลทรรศน์ เพื่อให้การวินิจฉัย ทางจุลพยาธิวิทยา แล้วจึงพิมพ์ผลการ วินิจฉัยลงในรายงาน ผลการตรวจชิ้นเนื้อ ส่งให้แพทย์ผู้ตรวจ รักษาผู้ป่วยใช้ใน การวินิจฉัย และการรักษาต่อไป ผลการตรวจชิ้นเนื้อ มีความจำเป็น ต่อการยืนยันการวินิจฉัยโรคหลาย ชนิดโดย เฉพาะ เนื้องอกและมะเร็ง นอกจากนี้ผลการตรวจ ชิ้นเนื้อยังช่วยให้แพทย์ สามารถให้การรักษาผู้ป่วยด้วยโรค เหล่านั้นได้ด้วย ความมั่นใจ และในบางกรณีแพทย์ จำเป็นต้องใช้ผลการตรวจชิ้นเนื้อใน การตัดสินใจ ให้การรักษาได้อย่าง ถูกต้องตามหลักวิชาเช่น ผลการตรวจ ชิ้นเนื้อด่วนในระหว่างการผ่าตัด จะช่วยให้ศัลยแพทย์ ตัดสินใจได้ว่า จะทำการผ่าตัดต่อ ไปหรือไม่อย่างไรเป็นต้น
- คู่มือการใช้บริการทางพยาธิวิทยา งานบริการตรวจวินิจฉัยทางพยาธิวิทยากายวิภาค พ.ศ. 2563