ปี 2020 (2563)

1. ชัยพร  อมรมุณีพงศ์

การศึกษาเปรียบเทียบผลการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ระหว่างทีมสหวิชาชีพที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลกับแพทย์ที่โรงพยาบาลชุมชน ในพื้นที่อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย       

(Treatment outcomes of type 2 diabetes mellitus between multidisciplinary team at subdistrict health promoting hospitals and physicians at community hospital in Si Satchanalai district, Sukhothai province: A retrospective cohort study)

2. นรีวรรณ  เขียวอิ่ม

การแปลและทดสอบความเที่ยงตรงของแบบสอบถามความรุนแรงในสถานบริการด้านสุขภาพฉบับภาษาไทย

(Translating and Validating a Thai Version of Workplace Violence in the Health Sector Questionnaire)

3. วริศรา  พรหมมณี

การศึกษาเชิงคุณภาพเรื่อง ชีวิตความเป็นอยู่และความต้องการด้านสุขภาพของผู้สูงอายุใน “ครอบครัวที่ปู่ย่าตายายต้องเลี้ยงดูหลานของตนเอง” ในชุมชนชนบทของประเทศไทย    

(A Qualitative Study on Well-being and Health needs of Elders in “The Skipped Generation  Family” in Thai Rural Community)

4. เทียมปราชญ์  แก้วไทย

ความชุกและปัจจัยที่มีผลต่อความไม่ร่วมมือในการใช้ยาในผู้สูงอายุที่มารับบริการในคลินิกประเมินผู้สูงอายุโรงพยาบาลรามาธิบดี          

(Prevalence and factors related to medical non –adherence in elderly in Geriatric assessment clinic Ramathibodi hospital)

5. กีรติ  วงศ์กวินวุฒิ

การศึกษาผลของการเพิ่มกิจกรรมทางกายในการป้องกันโรคหลอดเลือดหัวใจและโรคหลอดเลือดสมอง: การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ       

(Effect of increased physical activity in primary prevention cardiovascular disease: An Umbrella Review)

6. พัชรณัฏฐ์ อินทรพิทักษ์

แพทย์ในโรงเรียนแพทย์ไทยต้องเผชิญกับอะไรบ้างในการยุติการรักษาด้วยการถอนเครื่องช่วยพยุงชีพโดยเฉพาะท่อช่วยหายใจ ในผู้ป่วยที่อยู่ในวาระสุดท้ายของชีวิต: การวิจัยเชิงคุณภาพ          

(What do the doctors in Thai medical school have to confront with when to withdraw life-sustaining treatment especially extubation in the terminally ill patients?: A qualitative study)

7. กฤษฎา  เจริญรุ่งเรืองชัย

ผลต่อการพัฒนาทักษะการสื่อสารของแพทย์ประจำบ้านเวชศาสตร์ครอบครัว โดยการใช้แบบสะท้อนการเรียนรู้ที่มีโครงสร้างและเฉพาะเจาะจงผ่านการเรียนการสอนโดยดูวิดีโอบันทึกการตรวจผู้ป่วยนอกกับอาจารย์ที่ปรึกษา

(Impact of communication skill specified - structured reflective form on communication skill improvement on video feedback session of Family Medicine trainee)

8. ศิริอร  เทียนฤกษ์ 

ความสัมพันธ์ระหว่างประเภทของ circadian rhythm แบบต่าง ๆ กับภาวะซึมเศร้าในแพทย์ประจำบ้านของโรงพยาบาลรามาธิบดี          

(Relationship between various circadian rhythms and depression among residents in training at Ramathibodi hospital)

9. พงศ์นพพล  มาสุข

ความขัดแย้งระหว่างคนกับช้างป่ามีผลกระทบอย่างไรต่อวิถีชีวิตและสุขภาวะของคนในพื้นที่ กรณีศึกษาจากพื้นที่อนุรักษ์ป่าตะวันออกจังหวัดจันทบุรี ประเทศไทย

(How does human and wild elephant conflict impact on local people’s health and well-beings?: A case study from Eastern Thai Forestry area at Chanthaburi Province, Thailand.)

10. ปรีชญา ไตละนันทน์

ผลกระทบของการร้องเรียนหรือข่มขู่ฟ้องร้องทางการแพทย์ต่อสุขภาวะของแพทย์ใช้ทุนจบใหม่ในประเทศไทย

(How does the medical complaints or the threatened medical lawsuit impact on Thai young general practitioners’ health?)

11. อัญชลี  สีกัน

การข้ามพรมแดนมาเพื่อใช้บริการสุขภาพของประชาชนลาวมีผลกระทบอย่างไรต่อชุมชนในพื้นที่บริเวณชายแดนไทย-ลาว ที่ด่านพรมแดนห้วยโก๋น อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดน่าน ประเทศไทย       

(How does the cross-border healthcare utilization of Laos people impact on local community of Thai-Laos border at Huai Kon checkpoint, Chalermprakiat District, Nan province, Thailand?)

12. ศิวะพร ไชยหมาน

วิถีชีวิตที่เปลี่ยนไปและความต้องการด้านสุขภาพที่ยังไม่ได้รับการตอบสนองของผู้สูงอายุในเขตเมือง จังหวัดยะลา ที่สูญเสียสมาชิกในครอบครัวจากเหตุการณ์ความไม่สงบในพื้นที่ชายแดนใต้: การวิจัยเชิงคุณภาพ              

(Lifestyle change and unmet health needs of the elders living in urban community of Yala province who lost their family members in the deep south crisis of Thailand : A qualitative study)

13. พศวัต  เวชพาณิชย์

การศึกษาการรับรู้และทัศนคติต่อบุหรี่ไฟฟ้าของแพทย์และนักศึกษาแพทย์ในคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี

(Perception and attitude about emergence of electronic cigarette among physician and medical students in faculty of medicine, Ramathibodi hospital)

14. มณีทิพย์ ศรีมหาโกศล

การเปรียบเทียบประสิทธิภาพการใช้ยา Midazolam แบบหยอดทางกระพุ้งแก้มกับยา Lorazepam แบบแปะใต้ลิ้น เพื่อลดอาการเหนื่อยร่วมกับ Morphine ในผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับการรักษาแบบประคับประคอง

(Efficacy of buccal Midazolam compared with sublingual Lorazepam for reducing dyspnea as adjunct to morphine in palliative cancer patients : A randomized controlled trial)