ปี 2018 (2561)

1. พญ.ระวิวรรณ  สิงห์ป้อง

การวิจัยเชิงคุณภาพเรื่องข้อความวิพากษ์การรักษาจากมุมมองของผู้ป่วยในสื่อสังคมออนไลน์ส่งผลกระทบต่อความเป็นแพทย์ในแพทย์ไทยอย่างไร   

(Qualitative study on how do patients’ complaints on social media spin “Doctoring” among Thai physicians?)

2. นพ.พรหมมินทร์  แซ่โง้ว

การที่ผู้สูงอายุทำหน้าที่เป็นผู้ดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองในเขตนครหลวง ทำให้ความหมายของชีวิตและสถานะสุขภาพเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร 

(How does life and health status change among elder caregivers who take care of the stroke patient in metropolitan area.)

3. พญ.วริษา  เจริญวัฒน์

ครอบครัวไทยต้องเผชิญกับอะไรบ้างหลังตัดสินใจให้แพทย์รักษาผู้ป่วยระยะท้ายด้วยวิธีให้ยาที่ทำให้ผู้ป่วยหลับก่อนการเสียชีวิต    

(What do Thai families have to confront with after making decision on palliative sedation for terminally ill patients?)

4. นพ.เบญทวิช  สุรศาสตร์พิศาล

อิทธิพลจากความคาดหวังของสังคมต่อการแสดงออกทางเพศในมุมมองของแพทย์ไทยที่มีความหลากหลายทางเพศ(Influences of Social Expectation toward Gender Expression from Thai LGBT Physicians’ perspectives (I SEE study) : A Qualitative Study)

5. พญ.สุมลมาลย์  แสนทวีสุข

การดูแลรักษาผู้ป่วยที่เป็นแพทย์ มีความยากและท้าทายอย่างไรจากประสบการณ์ของแพทย์ไทย 

(How does doctoring the physician patient challenge us? : Experience of Thai physicians.)

6. นพ.ภาสกร  ชีวพงศ์พันธุ์

คลินิกชุมชนอบอุ่นสามารถตอบสนองความต้องการด้านสุขภาพในฐานะสถานพยาบาลระดังปฐมภูมิแก่ประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครได้อย่างไร : ประสบการณ์จากประชาชนที่มาใช้บริการอย่างต่อเนื่อง          

(How can the hearty community health clinic serve health care need as a primary care setting for people in Bangkok metropolitan? : Experience from people using services continuously.)

7. พญ.ฐิติพร  ทรัพย์ชาตอนันต์

การทดสอบเครื่องมือ MAAS-Global 2000 ฉบับภาษาไทย ในการประเมินทักษะการสื่อสารระหว่างแพทย์และผู้ป่วย(Reliability and Validity of Thai-version MAAS-Global 2000 Rating list for Doctor-Patient Communication skill.)

8. พญ.อวิสา  บุญส่งเสริมสุข

การดูแลสมาชิกในครอบครัวของตนเองส่งผลกระทบต่อความเป็นแพทย์ ของแพทย์ไทยอย่างไร    

(How does the caring for own family members impact on doctoring among Thai physicians?)

9. พญ.ฉัตรดาว  จางวางกร

บทบาทหน้าที่ของผู้ดูแลผู้ป่วยสูงอายุโรคสมองเสื่อมที่มีภาวะสับสนวุ่นวายทางพฤติกรรม และสภาพจิตในสังคมเมือง เปลี่ยนแปลงชีวิตและความหมายของชีวิตของผู้ดูแลไปอย่างไร               

(How does being family caregiver for the demented elders with behavioral and psychological symptoms of dementia (BPSD) who live in urban area change lives and meaning of life of family caregivers?)

10. พญ.ชโลธร  ชาวบ้านกร่าง

การศึกษาความชุกและปัจจัยการเกิดภาวะซึมเศร้าในผู้ดูแลผู้ป่วยสมองเสื่อมที่เข้ามารับการรักษาในคลินิกผู้ป่วยนอกสูงอายุ และโครงการเยี่ยมบ้าน โรงพยาบาลรามาธิบดี              

(The prevalence and factors associated with depression in caregivers of dementia patients: Out-patient clinic and Ambulatory care setting.)