ภารกิจงานการพยาบาล เกี่ยวกับการระงับความรู้สึก |
ภารกิจซึ่งต้องอยู่ภายใต้การกำกับดูแล ของแพทย์อย่างใกล้ชิด (เวชปฏิบัติ) |
---|---|
1. การประเมินผู้ป่วยและเตรียมความพร้อม เพื่อให้ยาระงับความรู้สึก (Preanesthetic evaluation) |
1. การให้ยาเตรียมผู้ป่วยก่อนให้ยาระงับความรู้สึก |
2. การเฝ้าระวังผู้ป่วยระหว่างได้รับยาระงับความรู้สึกทั้งแบบทั่วตัว (GA) และเฉพาะส่วน (RA) |
2. การให้ยาระงับความรู้สึกทั่วตัว (GA) และการช่วยเหลือแพทย์ในการให้ยาระงับความรู้สึกเฉพาะส่วน (RA) |
3. แก้ไขผลตามมาจากยาระงับความรู้สึก และการผ่าตัด(sequelae) อันอยู่ในวิสัยที่พึงเกิดขึ้นได้ |
3. การแก้ไขภาวะวิกฤตระหว่างได้รับยาระงับความรู้สึก
|
4. การพยาบาลในระยะพักฟื้นจากยาระงับความรู้สึก(Post anesthetic care) |
4. การแก้ไขภาวะวิกฤตในระยะพักฟื้นจากยาระงับความรู้สึก |
5. การพยาบาลเกี่ยวกับการรับและส่งต่อผู้ป่วยจากหอผู้ป่วย-> ห้องผ่าตัด -> ห้องพักฟื้น -> หอผู้ป่วย ตลอดจนการติดตามประเมินผลหลังให้ยาระงับความรู้สึก (Postoperative evaluation) |
5. การให้ยาระงับปวดหลังผ่าตัด (การให้ Narcotic sedation ฯลฯ) |
6. การศึกษาวิจัยและนำผลการวิจัยไปใช้เพื่อพัฒนาคุณภาพบริการ การพยาบาลเกี่ยวกับการระงับความรู้สึก (Research and Utilize of Evidence Based Practice in nursing care in anesthesia) |
6. การร่วมศึกษาวิจัยกับแพทย์เกี่ยวกับการให้ยาระงับความรู้สึกทั้งแบบทั่วตัว (GA) และเฉพาะส่วน (RA) |
7. การพัฒนาคุณภาพการพยาบาลเกี่ยวกับการระงับความรู้สึก |
7. การพัฒนาคุณภาพงานทางวิสัญญีวิทยา |
8. การจัดทำแนวทางปฏิบัติในการพยาบาลเกี่ยวกับการให้ยาระงับความรู้สึก (Practice guide lines for nursing care in anesthesia) |
8. การร่วมงานกับแพทย์เพื่อจัดทำแนวทางปฏิบัติในการให้ยาระงับความรู้สึกเฉพาะโรค (Practice guide lines for specific disease or specific problems) |
9. การสอนและให้คำปรึกษาในการพัฒนางานและการปฏิบัติงานด้านการพยาบาลเกี่ยวกับการระงับความรู้สึก |
9. การมีส่วนร่วมในการสอน การให้ยาระงับความรู้สึกทั่วตัวแก่ผู้เข้าอบรมวิสัญญีวิทยาตามที่แพทย์ผู้ฝึกอบรมเห็นสมควร |
10. การจัดการและการควบคุมมลภาวะ ตลอดจนการป้องกันการติดเชื้อจากห้องผ่าตัด |
10. การมีส่วนร่วมกับแพทย์ในการจัดทำระบบบริหารความเสี่ยง |