หลักสูตรเวชศาสตร์ชุมชนสำหรับนักศึกษาแพทย์ |
|
---|---|
ชั้นปีที่ 3 : | เวชศาสตร์ชุมชน (รมวช 302) จำนวน 5 หน่วยกิต Community Medicine (RACM 302) หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต แนวคิดสุขภาพ สุขภาพกับปัจจัยที่เกี่ยวข้อง สุขภาพแบบองค์รวม พฤติกรรมการดูแลสุขภาพ ระบบบริการสุขภาพที่พึงประสงค์ บทบาทแพทย์ที่มีต่อผู้ป่วยและสังคม แนวคิดระบาดวิทยา การศึกษาทางระบาดวิทยา การวัดทางระบาดวิทยา การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา ศักยภาพของชุมชนในการพึ่งตนเองกับสุขภาพ ทักษะการเข้าชุมชน ทักษะการสื่อสารและสร้างสัมพันธภาพ การทำงานเป็นทีม |
ชั้นปีที่ 4 : | เวชศาสตร์ชุมชน 1 (รมวช 404) จำนวน 5 หน่วยกิต Community Medicine I (RACM 404) หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ประยุกต์ความรู้ทางเวชศาสตร์ชุมชน ระบบสุขภาพ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ วิทยาการระบาด การสร้างสุขภาพ เศรษฐศาสตร์คลินิกและเศรษฐศาสตร์สาธารณสุข การวิจัยระบบสุขภาพ การจัดการระบบบริการสุขภาพ บทบาทแพทย์ต่อผู้ป่วย ครอบครัว ชุมชน การวิเคราะห์สถานการณ์สุขภาพ การรวบรวมข้อมูล การประเมิน การวินิจฉัยปัญหาสุขภาพระดับบุคคล ครอบครัว ชุมชน แนวทางการแก้ปัญหาสุขภาพในชุมชน แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วย ครอบครัว แนวทางการสร้างเสริมสุขภาพแก่ผู้ป่วย ครอบครัว ชุมชน ปัญหา แนวทางแก้ไขระบบสุขภาพและระบบบริการสุขภาพ |
ชั้นปีที่ 5 : |
เวชศาสตร์ปฐมภูมิ 2 (รมคร 515) จำนวน 5 หน่วยกิต |
ชั้นปีที่ 6 : | เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน (รมคร 615) จำนวน 4 หน่วยกิต Family and Community Medicine (RAID 615) หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ฝึกปฏิบัติ เพิ่มพูนประสบการณ์บทบาทแพทย์ด้านต่างๆ ในโรงพยาบาลชุมชน ประยุกต์ศาสตร์ต่างๆ ทางคลินิก สังคมศาสตร์ ระบาดวิทยา วิจัยและการจัดการ ระบุปัญหาสุขภาพ วิเคราะห์และเสนอทางเลือกในการแก้ไขปัญหาสุขภาพแบบชุมชนมีส่วนร่วมในระบบบริการสุขภาพระดับอำเภอ |
วิชาเลือก | ระบบบริการสุขภาพในโรงพยาบาลชุมชน (รมวช 531) จำนวน 2 หน่วยกิต RACM 531 Health Service System in Community Hospital หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต การประยุกต์ความรู้ทางเวชศาสตร์ครอบครัวเวชศาสตร์ชุมชน และจิตเวชศาสตร์ ในการปฏิบัติงานเวชปฏิบัติปฐมภูมิทั้งในแผนกผู้ป่วยนอก และแผนกผู้ป่วยใน ประสบการณ์บทบาทของแพทย์ในระบบบริการของโรงพยาบาลชุมชน ครอบคลุมทั้งด้านการรักษาพยาบาล การฟื้นฟูสมรรถภาพ การป้องกันโรค และการสร้างเสริมสุขภาพในระดับชุมชน |