สาขาวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ(ภาคพิเศษ)

รายวิชาในหลักสูตร

1. หมวดวิชาแกน 9 หน่วยกิต

รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ/ปฏิบัติในคลินิก-ศึกษาด้วยตนเอง)
รมพย 601 การวิจัยทางการพยาบาล 3 (3-0-6)
RANS 601 Nursing Research 3 (3-0-6)
รมพย 603 สถิติ 2(1-2-3)
RANS 603 Statistics 2(1-2-3)
รมพย 662 มูลฐานทางทฤษฎีในการปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง 2(2-0-4)
RANS 662 Theoretical Foundation in Advanced Nursing Practice 2(2-0-4)
รมพย 663 นโยบายสุขภาพกับภาวะผู้นำทางการพยาบาล 2(2-0-4)
RANS 663 Health Policy and Nursing Leadership 2(2-0-4)
 

2.หมวดวิชาบังคับ 12 หน่วยกิต

รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ/ปฏิบัติในคลินิก-ศึกษาด้วยตนเอง)
รมพญ 524 บูรณาการวิทยาศาสตร์สุขภาพและชีวการแพทย์สำหรับการพยาบาล 3(3-0-6)
RAAN 524 Integrated Health and Biomedical Sciences for Nursing 3(3-0-6)
รมพญ 521 การพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุขั้นสูง 3 (3-0-6)
RAAN 521 Advanced Nursing in Adult and Elderly 3 (3-0-6)
รมพญ 522 ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุขั้นสูง 1 3 (0-9-3)
RAAN 522 Advanced Nursing Practice in Adult and Elderly I 3 (0-9-3)
รมพญ 523 ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุขั้นสูง 2 3 (0-9-3)
RAAN 523 Advanced Nursing Practice in Adult and Elderly II 3 (0-9-3)
 

3. หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต

รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ/ปฏิบัติในคลินิก-ศึกษาด้วยตนเอง)
รมพย 543 แนวคิดและการปฏิบัติทางการพยาบาลขั้นสูง 3 (1-6-4)
RANS 543 Concept and Practice in Advanced Nursing 3 (1-6-4)
รมพย 544 การบำบัดเสริมและการบำบัดทางเลือกสำหรับการพยาบาล 3(3-0-6)
RANS 544 Complementary and Alternative Therapy for Nursing 3(3-0-6)
รมพย 545 การจัดการทางการพยาบาล 3 (2-3-5)
RANS 545 Nursing Management 3 (2-3-5)
รมพย 554 ประเด็นร่วมสมัยของสุขภาพผู้สูงอายุ 3(3-0-6)
RANS 554 Contemporary Issues on Aging Health 3(3-0-6)
รมพย 549 เครื่องมือสำหรับการวิจัยและการวัดผลลัพธ์ 3 (2-3-5)
RANS 549 Instruments for Research and Outcome Measures 3 (2-3-5)
รมพย 552 การดูแลแบบประคับประคอง 3 (2-3-5)
RANS 552 Palliative Care 3 (2-3-5)
รมพย 553 การพยาบาลสาธารณภัย 3 (2-3-5)
RANS 553 Disaster Nursing 3 (2-3-5)
รมพย 564 การสอนในคลินิก 3 (2-3-5)
RANS 564 Teaching in Clinical Setting 3 (2-3-5)
รมพย 688 เทคโนโลยีและการจัดการสารสนเทศทางการพยาบาล 3 (2-3-5)
RANS 688 Technology and Management of Nursing Information 3 (2-3-5)
 

นอกจากรายวิชาในหมวดวิชาเลือกข้างต้นแล้ว นักศึกษาสามารถเลือกลงทะเบียนรายวิชาอื่นๆ ที่เปิดสอนในระดับบัณฑิตศึกษาของมหาวิทยาลัยมหิดล หรือจากมหาวิทยาลัยอื่นๆ ตามความสนใจ และตามที่คณะกรรมการบริหารหลักสูตร หรืออาจารย์ที่ปรึกษาเห็นสมควร

รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ/ปฏิบัติในคลินิก-ศึกษาด้วยตนเอง)
รมพย 698 วิทยานิพนธ์ 12(0-36-0)
RANS 698 Thesis 12(0-36-0)
 
ภาคการศึกษาที่ 1
ชั้นปี รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต
1 รมพย 603 สถิติ 2(1-2-3)
  รมพย 662 มูลฐานทางทฤษฎีในการปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง 2(2-0-4)
  รมพย 663 นโยบายสุขภาพกับภาวะผู้นำทางการพยาบาล 2(2-0-4)
  รมพญ 524 บูรณาการวิทยาศาสตร์สุขภาพและชีวการแพทย์สำหรับการพยาบาล 3(3-0-6)
  รมพญ 521 การพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุขั้นสูง 3(3-0-6)
รวม 12 หน่วยกิต
 
ภาคการศึกษาที่ 2
ชั้นปี รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต
1 รมพย 601 วิจัยทางการพยาบาล 3(3-0-6)
  รมพญ 522 ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุขั้นสูง 1 3(0-9-3)
  รมพญ 523 ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุขั้นสูง 2 3 (0-9-3)
       
       
รวม 9 หน่วยกิต
 
ภาคการศึกษาที่ 1
ชั้นปี รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต
2   วิชาเลือก 3 หน่วยกิต
  รมพย 698 วิทยานิพนธ์ 6(0-18-0)
รวม 9 หน่วยกิต
 
ภาคการศึกษาที่ 2
ชั้นปี รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต
2 รมพย 698 วิทยานิพนธ์ 6(0-18-0)
รวม 6 หน่วยกิต
 

เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร

1. ใช้เวลาในการศึกษาตามแผนการศึกษา
2. ต้องศึกษารายวิชาต่างๆ ตามโครงสร้างของหลักสูตรคือ ศึกษารายวิชาไม่น้อยกว่า 25 หน่วยกิต และทำวิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต รวมจำนวนหน่วยกิตที่ต้องศึกษาตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 37 หน่วยกิต
3. ต้องได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า 3.00
4. ต้องสอบผ่านภาษาอังกฤษตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล
5. ต้องผ่านการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมทักษะการทำงานและการใช้ชีวิตในสังคมตามที่บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดลกำหนด
6. ต้องเสนอวิทยานิพนธ์ และสอบวิทยานิพนธ์ผ่านด้วยวิธีการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้าย โดยคณะกรรมการที่บัณฑิตวิทยาลัยแต่งตั้ง และการสอบเป็นระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้ารับฟังได้
7. ผลงานหรือส่วนหนึ่งของผลงานวิทยานิพนธ์จะต้องได้รับการเผยแพร่หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้เผยแพร่ในวารสารหรือสิ่งพิมพ์ทางวิชาการ หรือเสนอต่อที่ประชุมวิชาการที่มีรายงานการประชุม (Proceedings) ตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัยปี พ.ศ.2556 หรือฉบับปรับปรุงล่าสุด

เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร

1. นักวิชาการ นักวิจัย หรือผู้เชี่ยวชาญ สาขาการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุในสถานศึกษา
2. พยาบาลผู้มีความเชี่ยวชาญด้านการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ
3. อาชีพอิสระที่เกี่ยวข้องกับการดูแลสุขภาพผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ
 
 

Program Learning
Outcomes: PLOs
คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา โครงสร้างหลักสูตร รายวิชาในหลักสูตร