COMMON POISONING
Ramathibodi Poison Center
งูพิษ
ตารางที่1 ลักษณะที่ใช้แยกชนิดงูพิษที่มีความสำคัญทางคลินิคในประเทศไทย
งูเห่าธรรมดา (Naja kaouthia) รูปที่ 4 |
งูเห่าพ่นพิษ (Naja sputatrix) รูปที่ 5 , รูปที่ 6 |
งูจงอาง (Ophiophagus hunnah) รูปที่ 7, รูปที่ 8 |
1. เกล็ดที่หัวงูตรงขมับ (parietal sclae) ขนาดเล็ก | 1. parietal scale ขนาดเล็ก | 1. Parietal scale ขนาดเล็ก 2 อัน |
2. ที่คอเป็นรูปดอกจัน (monocellate) | 2. ที่คอเป็นรูปตัวยู | 2. ที่คอไม่มีเครื่องหมาย |
3.มีสีขาวแทรกที่ลำตัว ( พบบ่อยที่ภาคกลาง เรียกว่า งูเห่าปลวก) | ||
งูกะปะ (Calloselasma rhodostoma) รูปที่ 9 |
งูแมวเซา (Vipera russelli) รูปที่ 10 |
งูแม่ตะงาว (งูไม่มีพิษ) (Boiga multimaculata) รูปที่10a |
1.ตัวเป็นรูปสามเหลี่ยมชัดเจน | 1. หัวค่อนข้างมน | 1. หัวมน |
2. ตัวอ้วนป้อมและสั้น | 2. ตัวอ้วนป้อมและสั้น | 2. ตัวเรียวยาวเล็ก |
3. ลำตัวเป็นรูปสามเหลี่ยม ชัดเจน บนหลังงู เป็นสันชัด | 3. ลำตัวกลม | 3. ลำตัวกลม |
4. ลำตัวสีน้ำตาล ลายดำ เป็นรูปหัวลูกศร หัวลูกศรชี้ไปสันหลังอยู่สลับกัน (asymmetry) | 4. ลำตัวสีน้ำตาล ลายสีดำ เป็นรูปวงกลม | 4. ลายแบบเดียวกันกับงูแมวเซา |
5. หางสั้น | 5. หางสั้น | 5. หางยาวเรียว ( มีต่อ ) |