ชื่อกิจกรรม / โครงการ |
โครงการพัฒนาชุมชนต้นแบบปลอดบุหรี่ |
ที่มาและความสำคัญ |
บุหรี่เป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญของทุกประเทศทั่วโลก ปัจจุบันบุหรี่เป็นหนึ่งในปัจจัยที่ทำให้ประชากรทั่วโลกเสียชีวิตกว่า 8 ล้านคนต่อปี หรือ เสียชีวิตครึ่งหนึ่งของผู้ที่ใช้ยาสูบ ดังนั้นทั้งภาครัฐและเอกชน จึงมีนโยบายหรือมาตรการต่างๆ เพื่อส่งเสริมการเลิกสูบบุหรี่ การจัดกิจกรรมที่ผ่านมาส่วนใหญ่มุ่งเน้นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในระดับบุคคล ทำให้ผู้สูบบุหรี่มีโอกาสที่จะกลับสูบบุหรี่ซ้ำ ปัจจัยที่ทำให้เลิกบุหรี่ได้สำเร็จคือการได้รับความช่วยเหลือในการเลิกบุหรี่โดยบุคลากรสุขภาพ ครอบครัว อาสาสมัครสาธารณสุข และชุมชน ดังนั้นจึงควรมีโปรแกรมการเลิกบุหรี่ที่เน้นทั้งระดับบุคคล ครอบครัว และชุมชน และดำเนินการอย่างต่อเนื่อง เพื่อลดจำนวนผู้สูบบุหรี่และแนวโน้มที่จะกลับมาสูบบุหรี่ซ้ำ นำไปสู่การเป็นชุมชนต้นแบบปลอดบุหรี่ |
ช่วงเวลาที่จัดกิจกรรม / โครงการ |
พฤษภาคม 2563 |
สถานที่จัดกิจกรรม / โครงการ |
ชุมชนซอยสวนเงิน |
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง / ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย |
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี / ศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อการควบคุมยาสูบ (ศจย.) |
วัตถุประสงค์ |
สร้างชุมชนต้นแบบปลอดบุหรี่ |
รูปแบบการดำเนินกิจกรรม / โครงการ |
การลงพื้นที่ซอยสวนเงิน เพื่อสำรวจ ประชาสัมพันธ์และให้ความรู้ความเข้าใจกับคนในชุมชนถึงอันตรายจากการสูบบุหรี่ |
กลุ่มเป้าหมาย / กลุ่มผู้ร่วมกิจกรรม |
ประชาชนในชุมชนซอยสวนเงิน |
จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม |
- |
ระดับความร่วมมือ |
ระดับประเทศ |
ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ประโยชน์จากกิจกรรม / โครงการ |
อยู่ระหว่างการดำเนินงาน |
Web link อ้างอิงผลการดำเนินงาน |
https://www.rama.mahidol.ac.th/healthpromo/th/project/content12192019-1315-th |
|
https://www.rama.mahidol.ac.th/healthpromo/th/project/content12192019-1414-th |
|
https://www.rama.mahidol.ac.th/healthpromo/th/news/eventsociety/05122020-1107-th |
|
http://www.trc.or.th/th/ข่าวสาร/ข่าวเผยแพร่/press-release-ศจย/459-พลังชุมชนปลอดบุหรี่-ต้านภัยโควิด.html |
|
http://www.trc.or.th/th/attachments/article/459/Press%20Release%20พลังชุมชนปลอดบุหรี่%20ต้านภัยโควิด%20%20(30%20พ.ค.%2063).pdf |
SDG goal ที่เกี่ยวข้อง |
2, 3, 10, 12 ,13 |