ชื่อกิจกรรม / โครงการ |
ศูนย์พิษวิทยารามาธิบดี |
ที่มาและความสำคัญ |
การขยายตัวทางเศรษฐกิจในประเทศไทย ทำให้มีการใช้สารเคมีทั้งในภาคเกษตรกรรม อุตสาหกรรม และในครัวเรือนเพิ่มมากขึ้น ก่อให้เกิดการใช้สารเคมีแบบขาดความรู้ความเข้าใจหรือไม่ถูกต้อง เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เนื่องจากมีการปนเปื้อนตกค้างของสารเคมีในห่วงโซ่อาหารและแหล่งน้ำ และที่สำคัญอาจทำให้อันตรายถึงขั้นเสียชีวิต หากไม่ได้รักษาอย่างรวดเร็วและถูกวิธี จึงเกิดการจัดตั้งศูนย์พิษวิทยาขึ้น |
ช่วงเวลาที่จัดกิจกรรม / โครงการ |
ปี 2539 - ปัจจุบัน |
สถานที่จัดกิจกรรม / โครงการ |
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล |
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง / ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย |
องค์การอนามัยโลก / คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล |
วัตถุประสงค์ |
ศูนย์ให้คำแนะนำแบบครบวงจร ในการดูแล เฝ้าระวัง รวบรวมข้อมูลด้านสารพิษและสารเคมีต่างๆ รวมถึงวินิจฉัย บำบัดรักษาอาการเบื้องต้น เพื่อรองรับการแก้ไขปัญหาด้านพิษวิทยาของประเทศ |
รูปแบบการดำเนินกิจกรรม / โครงการ |
ให้ข้อมูลคำปรึกษาด้านพิษวิทยาและเภสัชวิทยาที่ถูกต้องผ่านสายด่วน 1367 รวมถึงบริการยาต้านพิษที่เบ็ดเสร็จ โดยเปิดให้บริการตลอด 24 ชั่วโมง |
กลุ่มเป้าหมาย / กลุ่มผู้ร่วมกิจกรรม |
- |
จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม |
- |
ระดับความร่วมมือ |
ประเทศ |
ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ประโยชน์จากกิจกรรม / โครงการ |
ศูนย์วางแผนดูแลและแก้ไข ป้องกันการเกิดอุบัติภัยจากสารเคมีและสารพิษต่างๆ ในประเทศและภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ |
Web link อ้างอิงผลการดำเนินงาน |
https://med.mahidol.ac.th/poisoncenter/th |
|
https://med.mahidol.ac.th/rama_hospital/th/services/knowledge/01222020-1557 |
|
https://med.mahidol.ac.th/atrama/issue032/rama-update |
SDG goal ที่เกี่ยวข้อง |
12 |