You are here

การศึกษาธรรมชาติของโควิด-19 ในเขตพื้นที่ความเสี่ยงสูงในประเทศไทย


ชื่องานวิจัย การศึกษาธรรมชาติของโควิด-19 ในเขตพื้นที่ความเสี่ยงสูงในประเทศไทย
คณะ / สาขาวิชา ศูนย์จีโนมทางการแพทย์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
ที่มาและความสำคัญ โรคอุบัติใหม่โควิด-19 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19)) มีจานวนผู้ป่วยเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องทุกวันทั่วโลก เพื่อประโยชน์สูงสุดในการควบคุมและป้องกันโควิด-19 
ขอบเขต / พื้นที่ศึกษา 1. Retrospective study อาสาสมัครจากผู้ติดเชื้อที่มารักษาสถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์ ช่วงพ.ศ. 2563-2564
2. Prospective longitudinal study อาสาสมัครโรงพยาบาลวิชัยเวชฯ จ. สมุทรสาคร และ โรงพยาบาลประชาธิปัตย์ จ.ปทุมธานี 
วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาอัตราอุบัติการณ์ (Incidence rate) ของโรคโควิด-19 จากการติดตามระยะยาวไปข้างหน้าระยะยาว 1 ปี ในผู้ใช้แรงงาน วิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่างการตอบสนองของภูมิคุ้มกัน ร่วมกับข้อมูลจีโนมิกส์, ข้อมูลทางคลินิกและทางระบาดวิทยา ในประชากรกลุ่มเสี่ยงในจังหวัดปทุมธานีและจังหวัดสมุทรสาคร
แหล่งทุนสนับสนุน -
หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี และคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล / สถาบันมะเร็งแห่งชาติ / กระทรวงสาธารณสุข
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ประชาชน บุคลากรทางการแพทย์ และกระทรวงสาธารณสุข 
ระดับความร่วมมือ ระดับชาติ
ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ประโยชน์ต่อ 1. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการคัดเลือกวัคซีนที่เหมาะสมสาหรับประชากรไทย
2. ฐานข้อมูลความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลทางระบาดวิทยา ข้อมูลทางคลินิก และการตอบสนองภูมิคุ้มกันในประชากรไทยที่สัมพันธ์กับการสายพันธุ์ของไวรัสโคโรนาที่ระบาดในประเทศไทย
3. ฐานข้อมูลธนาคารทรัพยากรทางชีวภาพ (Biobank) และคลังทรัพยากรทางกายภาพในทรวงอก
4. เผยแพร่ฐานข้อมูลต่างในรูปแบบของ spread sheet และ data visualization
Web Link อ้างอิงผลการดำเนินงาน https://www.thelancet.com/pdfs/journals/laninf/PIIS1473-3099(21)00568-5.pdf