Page 67 - รายงานประจำปี 2563 มหาวิทยาลัยมหิดล คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
P. 67

 ภาครัฐของประเทศ รวมถึงเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนมี สว่ นรว่ มตดิ ตามตรวจสอบการดาํา เนนิ งานของภาครฐั ตลอดจน สร้างความเชื่อมั่นให้กับภาคเอกชนท่ีจะเข้าร่วมเสนองาน โครงการก่อสร้างของรัฐว่าเกิดการแข่งขันอย่างเป็นธรรม ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อประเทศอย่างแท้จริง
4.2 โครงการพฒั นาระบบเบกิ - จา่ ยวสั ดรุ ะบบใหม่ Rama Inventory Management Online: RIMO เป็น โครงการนวัตกรรมท่ีฝ่ายการพัสดุมุ่งเน้นการพัฒนาระบบ การปฏิบัติงานด้านการเบิก-จ่ายวัสดุ นําาไปสู่ระบบการ ทําางาน Paperless เพ่ือให้สามารถรับ-จ่ายวัสดุได้รวดเร็ว ยิ่งข้ึน ลดค่าใช้จ่ายและลดระยะเวลาในการปฏิบัติงาน รวมไปถงึ ลดตน้ ทนุ การบรหิ ารระบบวสั ดคุ งคลงั ซงึ่ ในวนั ท่ี4 มกราคม 2564 ฝ่ายการพัสดุได้มีการประกาศยกเลิกการใช้ กระดาษใบเบิก ใบจ่ายวัสดุ เป็นการปฏิบัติงานแบบ Online ในระบบ RIMO ทั้งหมด ถือเป็นการเปลี่ยนแปลงครั้งสําาคัญ ทตี่ อบสนองตอ่ การพฒั นาคณะฯสกู่ ารเปน็ DigitalPlatform
5. การดําาเนินงานตามแผนกลยุทธ์คณะฯ ฝ่าย การพัสดุร่วมสานภารกิจของคณะฯ โดยการสนับสนุนทุก กลยุทธ์ และในส่วนกลยุทธ์ ข้อ SO4 Management for Sustainability ซึ่งได้แก่ ด้านความมั่นคงด้านการเงิน สังคม และสิ่งแวดล้อม เพื่อความยั่งยืนนั้น ฝ่ายการพัสดุ ไดต้ อบสนองทงั้ การใชเ้ งนิ อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ บรหิ ารจดั การ งบประมาณตามแผนกลยุทธ์ เช่น การประหยัดงบประมาณ ในการดําาเนินการจัดซื้อจัดจ้าง และการจัดซื้อจัดจ้างที่ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ทั้งในมิติการจัดหาและการจัดทําา โครงการต่าง ๆ ที่จะช่วยรักษาสิ่งแวดล้อม เช่น โครงการใช้ เครอื่ งถา่ ยเอกสารแทนเครอื่ งปรน๊ิ เตอร์การพฒั นาระบบการ เบิกจ่ายวัสดุท่ีเป็น Paperless การยกเลิกการพิมพ์เอกสาร จัดซื้อจัดจ้าง เป็นต้น
6. การสนับสนุนการดําาเนินคณะฯ ในสถานการณ์ การแพร่ระบาดของ COVID-19 ในการจัดหาพัสดุที่ จําาเป็นเร่งด่วนท้ังในประเทศ พัสดุบางรายการที่จัดหาไม่ได้ ในประเทศฝา่ ยการพสั ดกุ ป็ ระสานเพอื่ จดั หาจากตา่ งประเทศ เชน่ การปฏบิ ตั งิ านดา้ นขออนมุ ตั ยิ กเวน้ อากรพธิ กี ารศลุ กากร เฉพาะรายการเครอื่ งมอื แพทยท์ ส่ี ามารถนาํา เขา้ บรจิ าคใหแ้ ก่ หน่วยงานรัฐในสถานการณ์ COVID-19 ในด้านการสําารอง
วัสดุที่จําาเป็นและเพียงพอเพื่อรับมือกับความต้องการใช้ บริการของคณะฯ ไม่ว่าจะเป็น Alcohol handgel ทั้งแบบ เคร่ืองอัตโนมัติและแบบขวดป๊ัม Chlorhexidine Scrub 4% (นํา้ายาล้างมือในห้องผ่าตัด) นํา้ายาฆ่าเชื้อโรคแบบผสม ด้วยเคร่ือง สบู่เหลวล้างมือ ผลิตภัณฑ์ทําาความสะอาด (Virkon) ฯลฯ โดยได้วิเคราะห์และประเมินปริมาณความ ต้องการใช้แล้ว พบว่าวัสดุรายการเหล่าน้ีมีความจําาเป็น อยา่ งยง่ิ ทจ่ี ะตอ้ งจดั หาใหท้ นั และเพยี งพอตอ่ ความตอ้ งการใช้ โดยInventoryDigitalPlatformเปน็ เครอื่ งมอื ในการกระจาย วสั ดใุ หก้ บั หนว่ ยงานตา่ ง ๆ ซงึ่ พบวา่ สามารถกระจายวสั ดไุ ด้ อย่างรวดเร็ว และสามารถสนับสนุนภารกิจหลักของคณะฯ ในการตรวจ คัดกรอง ป้องกัน และลดการแพร่เช้ือไวรัส COVID-19 ของประเทศไทยได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซ่ึงได้มี การถอดบทเรียน จําานวน 2 เล่ม (ดังภาพที่ 4)
แผนการดําาเนินงาน ปีงบประมาณ 2564
การเตรยี มการทบทวนการดาํา เนนิ งานเพอื่ ปรบั ปรงุ พฒั นา กระบวนการในทุกมิติ ทั้งในด้านการจัดหา การบริหาร สินทรัพย์ และคลังวัสดุ เพ่ือเตรียมสู่การรับรองคุณภาพท่ี มงุ่ สคู่ วามเปน็ เลศิ ตามมาตรฐานสากลอกี ทงั้ ใหก้ ารสนบั สนนุ พัฒนาบุคลากรที่ปฏิบัติงานด้านพัสดุ เข้าสู่หลักสูตร มาตรฐานวิชาชีพด้านการจัดซ้ือจัดจ้างและการบริหารพัสดุ ภาครฐั ดว้ ยอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (Electronic Certificate in Public Procurement :eCPP) เป็นการสร้างองค์ความรู้ในการ ปฏิบัติงานที่ถูกต้องตามระเบียบพัสดุ เพื่อสนับสนุนการ ดําาเนินงานของคณะฯ
รายงานประจาปี 2563 65
    ภาพที่ 4 การถอดบทเรียนการปฏิบัติงานด้านการพัสดุ ในสถานการณ์ COVID-19


























































































   65   66   67   68   69