Page 119 - รายงานประจำปี 2563 มหาวิทยาลัยมหิดล คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
P. 119

 ค้นพบยีนคนไทยแพ้ยา “แบคทริม” หรือกลุ่มยาปฏิชีวนะในกลุ่มยาซัลฟาเป็นครั้งแรกของโลก
ยาแบคทริม (Bactrim) หรือ Sulfamethoxazole Trimethoprim เปน็ ยาปฏชิ วี นะในกลมุ่ ยาซลั ฟา ตามลกั ษณะ โครงสร้างทางเคมีที่เรียกว่า “ซัลโฟนาไมด์” (Sulfonamide) ใชร้ กั ษาโรคตดิ เชอื้ แบคทเี รยี เนอื่ งจากเปน็ ยาฆา่ เชอื้ ออกฤทธ์ิ กว้าง ใช้รักษาอาการติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะ (UTIs) โรคหลอดลมอักเสบ โรคตาติดเช้ือ โรคเย่ือหุ้มสมองอักเสบ จากแบคทีเรีย โรคปอดบวม หูอักเสบ แผลไหม้อย่างรุนแรง และทอ้ งเสยี จากการทอ่ งเทยี่ ว(traveler’sdiarrhea)เปน็ ตน้ ยังมีการใช้ในกลุ่มผู้ติดเชื้อเอชไอวี เพ่ือป้องกันการติดเชื้อ ฉวยโอกาส Pneumocystis Carinii (Jiroveci) Pneumonia (PJP)
จากข้อมูลของกระทรวงสาธารณสุข (สธ.) พบอัตรา การแพ้ยาสูงที่สุด โดยพบว่ามีรายงานการเกิดผื่นแพ้ยา ทางผิวหนังชนิดรุนแรง บางรายอาจพบอาการทางผิวหนังที่ รุนแรง คือ เกิดตุ่มพอง ผิวหนังลอก ท่ีเรียกว่าการแพ้แบบ สตเีวนส-์จอหน์ สนั ซนิ โดรม(Stevens-JohnsonSyndrome หรือ SJS) และท็อก-ซิก อีพิเดอร์มัลเนโครไลซิส (Toxic Epidermal Necrolysis หรือ TEN) ร่วมกับอาการแทรกซ้อน ในระบบอนื่ ๆได้และอาจรนุ แรงถงึ ขนั้ เสยี ชวี ติ หรอื เกดิ ภาวะ ทุพพลภาพตลอดชีวิต เช่น ตาบอด นอกจากน้ันยังส่งผล กระทบอยา่ งยงิ่ ตอ่ คณุ ภาพชวี ติ ของผปู้ ว่ ยจากการสมั ภาษณ์ ผู้ป่วยที่มีผ่ืนแพ้ยาชนิด SJS/TEN พบว่า อาการดังกล่าว ส่งผลกระทบในหลาย ๆ ด้านต่อผู้ป่วยและครอบครัว เช่น การสูญเสียสมรรถนะการทําางานเน่ืองจากความผิดปกติท่ี เกดิ ขน้ึ การทถ่ี กู คนรอบขา้ งรงั เกยี จเนอ่ื งจากอาการทม่ี องเหน็ ได้ เช่น ผื่นชนิดรุนแรงตามบริเวณใบหน้าและลําาตัว ผิวหนัง ลอกไหม้ ทําาให้ไม่กล้าออกจากบ้านไปพบปะผู้อื่น ตลอดจน ความรสู้ กึ หวาดระแวงตอ่ การรบั ประทานยาความเสอ่ื มศรทั ธา และไม่ไว้วางใจต่อบุคลากรทางการแพทย์
นอกจากน้ยี ังพบว่ามีอุบัติการณ์ท่เี กิดการแพ้ยาของกล่มุ Sulfonamide nonantibiotic เช่น sulfasalazine, loop diuretic, sulfonylurea, cyclooxygenase–2 inhibitors
เป็นต้น ซึ่งบางการศึกษาพบว่าสามารถเกิดการ cross- reactivity กับยากลุ่ม sulfonamide nonantibiotic ได้
การรักษาผ่ืนแพ้ยาชนิดน้ีก่อให้เกิดผลกระทบด้าน รายจา่ ยทเี่ พมิ่ สงู ขน้ึ ของครอบครวั และสงั คมโดยรวม รวมทง้ั ยังอาจนําาไปสู่การฟ้องร้องแพทย์หรือโรงพยาบาลเพราะ ความเข้าใจผิดว่าเกิดจากความผิดพลาดของการดูแลรักษา ถึงแม้จะมีการพัฒนาระบบและวางแนวทางปฏิบัติเพื่อ เป็นการป้องกัน แต่การแพ้ยาก็เป็นเรื่องท่ีหลีกเลี่ยงได้ยาก โดยเฉพาะในกรณีที่เป็นยาจําาเป็นและมีประสิทธิผลที่ดีใน การรกั ษาอยา่ งยาแบคทรมิ (Bactrim)หรอื Sulfamethoxazole Trimethoprim
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดีจึงจัดทําา โครงการ “เภสัชพันธุศาสตร์ต่อการเกิดผื่นแพ้ผิวหนังรุนแรง ในคนไทย” ทําาการศึกษาแบบควบคุม (case-control) ในคนไทย เพื่อหาความเสี่ยง พบว่าหากมีความผิดปกติของ ยีน HLA-B*15:02 และ HLA-C*08:01 จะสัมพันธ์กับการ เกิดการแพ้ยาแบบ Stevens-Johnson’s Syndrome ท่ี ผิวลอก ผ่ืนขึ้น เยื่อบุตา เย่ือบุปากไหม้ หากมีความผิดปกติ ของยนี HLA-B*13:01จะสมั พนั ธก์ บั การเกดิ การแพย้ าแบบ DRESS (Drug Reaction with Eosinophillia and Systemic Symptoms) ซ่ึงมีความรุนแรงและมีอัตราการเสียชีวิตพอ ๆ กัน โดยเฉลี่ยคนที่มียีนผิดปกติจะเพิ่มโอกาสแพ้ยามากกว่า คนท่ียีนไม่ผิดปกติประมาณ 15 เท่า ซ่ึงถือว่าเป็นการค้นพบ ยีนคนไทยแพ้ยา “แบคทริม” หรือกลุ่มยาปฏิชีวนะในกลุ่ม ยาซลั ฟาเปน็ ครง้ั แรกของโลกจงึ นาํา มาสกู่ ารพฒั นาการตรวจ ยีนแพ้ยาก่อนท่ีจะให้ยาเพื่อลดโอกาสเสี่ยงแพ้ยาต่อไป การตรวจยีนแพ้ยากําาลังเป็นท่ีสนใจในวงการสาธารณสุข เพราะสามารถประเมินความเส่ียงในการเกิดผื่นแพ้ยาของ ผู้ป่วยแต่ละรายได้ เพื่อที่แพทย์จะเลี่ยงไปสั่งใช้ยาอื่นที่มี ความเสี่ยงตํา่ากว่า ตัวอย่างที่ดีที่สุดคือ การตรวจยีนแพ้ยา HLA-B*15:02 สําาหรับโอกาสแพ้ยากันชัก carbamazepine ที่สิทธิบัตรทองครอบคลุมการตรวจนี้ด้วย
รายงานประจาปี 2563 117
 


























































































   117   118   119   120   121