Article
Page 37
อาหารเสริม-01
ปัจจุบันวิตามินและอาหารเสริมเข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวันของเรามากขึ้น สังเกตได้จากมีวิตามินเสริม อาหารเสริมออกมาจำหน่ายมากมายหลายยี่ห้อในท้องตลาด เราจำเป็นหรือไม่ที่ต้องกินอาหารเสริมเหล่านี้ แล้วหากกินไปเป็นระยะเวลานานๆ จะเกิดผล
Article
14-08-2016

38

เล่นมือถือ-01
ด้วยในปัจจุบันเป็นยุค IT ที่คงปฏิเสธไม่ได้ว่าในชีวิตประจำวันของทุกคนมีการใช้ Computer หรือ Smartphone กัน ไม่มากก็น้อย ทำให้ทุกคนเริ่มตื่นตัวกับปัญหาที่จะตามมาของใช้ Computer เป็นเวลานานๆ และมีกลุ่มโรคใหม่ที่พบได้มากขึ้นเรื่อยๆ นั่นคือ โรค
Article
14-08-2016

42

เราไม่ควรนำไก่สดมาล้างก่อนทำอาหารจริงหรือไม่? ข้อมูลนี้เป็น “ความจริง” แต่เป็นประกาศที่ออกมาเฉพาะในประเทศฝั่งตะวันตกเท่านั้น เพราะว่าในโรงงานแถบตะวันตกเมื่อเนื้อไก่ถูกทำความสะอาดและชำแหละเรียบร้อยแล้ว จะถูกแช่แข็ง (Freeze) โดยทันที
Article
14-08-2016

32

เสี่ยงโรคภาวะกระดูกพรุน-01
“กระดูก” อวัยวะสำคัญที่เป็นโครงสร้างยึดเกาะกล้ามเนื้อให้เรามีรูปร่างร่างกายที่เป็นปกติ จะเกิดอะไรขึ้นเมื่อกระดูกของเรามีภาวะบางลงจากการสูญเสียมวลกระดูก จนทำให้เกิดโรคกระดูกพรุนหรือภาวะกระดูกพรุน ส่งผลให้เราต้องระมัดระวังในการใช้ชีวิตประจำวัน
Article
14-08-2016

23

กลุ่มเสี่ยง ได้แก่ 1.คนที่มีประสบการณ์ถูกทำร้ายตอนเด็กๆ 2.คนที่ไม่ค่อยมีเพื่อนหรือครอบครัวมาคอยช่วยเหลือ 3.คนที่ชอบพึ่งพาคนอื่นมาโดยตลอด ไม่พยายามช่วยเหลือตนเอง 4.คนที่มีอาการทางจิตเวชเป็นทุนเดิม เช่น โรคซึมเศร้า โรคไบโพล่า โรควิตกกังวล
Article
14-08-2016

27

PTSD1-01
PTSD (Post-Traumatic Stress Disorder) คือ สภาวะป่วยทางจิตใจเมื่อเผชิญกับเหตุการณ์ที่กระทบกระเทือนจิตใจอย่างร้ายแรง ส่งผลให้เกิดความเครียดอย่างมาก อาทิ ภัยพิบัติ อุทกภัย แผ่นดินไหว การก่อการจราจล การฆาตกรรม สงคราม การปล้นฆ่า ข่มขืน
Article
14-08-2016

58

ผู้ชายก็เป็นมะเร็งเต้านมได้-01
โรคมะเร็งเต้านมไม่ได้มีแค่เฉพาะผู้หญิงเท่านั้น ต้องบอกว่าผู้ชายก็สามารถเป็นได้เช่นเดียวกัน ซึ่งมีสาเหตุคล้ายๆ กับมะเร็งเต้านมในผู้หญิง โดยผู้ชายมีโอกาสเป็นมะเร็งเต้านมเมื่อเทียบกับจำนวนผู้หญิงที่เป็นมะเร็งเต้านม 100 คน จะมีประมาณ 0.5-1 % เท่านั้น ซึ่ง
Article
14-08-2016

32

หมอนรองกระดูกคอจะคั่นอยู่ระหว่างปล้องกระดูกคอที่จะมีประมาณทั้งหมด 7 ปล้อง มีหน้าที่ช่วยในเรื่องของการเคลื่อนไหวกระดูกคอ ทำให้มนุษย์เราสามารถก้มหรือเงยคอได้ เมื่อเราใช้ไปนานๆ หรือใช้ไม่ถูกต้องก็จะทำให้หมอนรองกระดูกเสื่อมได้ พฤติกรรมเสี่ยง
Article
14-08-2016

42

05-01
สัญญาณไวไฟมีอันตรายต่อสมองเด็กหรือไม่? ศ.นพ.อนันต์นิตย์ วิสุทธิพันธ์ หัวหน้าหน่วยประสาทวิทยา ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า ปัจจุบันหลักฐานทางการแพทย์ยังไม่มีสรุปออกมาว่าสัญญาณไวไฟ
Article
14-08-2016

23

อ.พญ.นวรัตน์ อภิรักษ์กิตติกุล ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมาอุบัติการณ์ของโรคภูมิแพ้เพิ่มขึ้นจากเดิมมากอย่างน้อยๆ 3-4 เท่า สาเหตุที่สำคัญส่วนใหญ่มาจากสิ่งแวดล้อมที่
Article
14-08-2016

21

ลักษณะสีผิวของแต่ละคนแต่ละชาติถูกกำหนดขึ้นมาโดยพันธุกรรม เพราะฉะนั้นการกระทำใดๆ ที่หวังจะให้สีผิวของเราเปลี่ยนไปจากผิวคล้ำเป็นผิวขาว ไม่ว่าจะเป็นการทายา ทานยาหรือฉีดยา จะให้ผลที่ไม่ถาวร วิตามินฉีดผิวไม่ใช่การรักษาที่เป็นมาตรฐาน ปัจจุบันมี
Article
14-08-2016

19

Nomophopia(โนโมโฟเบีย) หรือ No Mobilephone Phobia เป็นอาการของคนที่กลัว “อย่างมาก” เมื่อไม่มีโทรศัพท์มือถือใช้ โรคนี้ยังไม่ได้ระบุเป็นโรคทางจิตเวชอย่างเป็นทางการ แต่อาจจะเป็นชื่อกลุ่มโรคได้ในอนาคตเมื่อมีการศึกษาเพิ่มเติมที่มากขึ้น กลุ่มอา
Article
14-08-2016

16