Page 99 - รายงานประจำปี 2563 มหาวิทยาลัยมหิดล คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
P. 99

 2. การทําาต้นแบบนวัตกรรมทางการแพทย์อื่นๆ
มีผลงานเด่น คือ อุปกรณ์ Assistive laser walking โดย ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู (ดังภาพที่ 3) เป็นอุปกรณ์ช่วยเดิน เหมาะสาํา หรบั คนทมี่ กี ารเดนิ ตดิ ขดั จากโรคพารก์ นิ สนั รวมถงึ โรคที่มีความผิดปกติของสมองที่ส่งผลในรูปแบบเดียวกัน และยังมีผลงานอื่น ๆ ดังนี้ ที่แขวนตัววัด flow meter, First ray device และอุปกรณ์วัดมุมข้อมือ
3. การมีส่วนร่วมในการพัฒนาผลงานนวัตกรรม ต่าง ๆ
3.1 รว่ มกบั แผนกฉกุ เฉนิ ของคณะฯ และภาควิชาเกม และอินเตอร์แอคทีฟมีเดีย คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและ นวัตกรรม มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ในการพัฒนาโปรแกรม Virtual reality triage training เพื่อช่วยฝึกสอนนักศึกษา แพทย์ฉุกเฉิน เม่ือต้องไปเจอสถานการณ์อุบัติภัยหมู่
3.2 รว่ มกบั ศนู ยพ์ ษิ วทิ ยาและภาคเอกชน ในการพฒั นา โปรแกรม Chat Bot เพอื่ ใหข้ อ้ มลู ตอบคาํา ถาม และคาํา แนะนาํา เบื้องต้น เกี่ยวกับสารเคมีท่ีใช้ภายในบ้านให้กับแพทย์และ บุคคลที่ต้องการคําาแนะนําา
4. การระดมแนวคิดพัฒนาอุปกรณ์ทางการแพทย์ เพ่ือการบรรเทาผลกระทบท่ีเกิดจากการระบาดของ โรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา2019(COVID-19)โดยจดั กจิ กรรม COVID-19 Hackathon ซ่ึงมีโครงการมากกว่า 40 โครงการ อาทิ ออกแบบ Acute Respiratory Infection Clinic (ARIC) High Unit เพ่ือติดตั้งในโรงพยาบาลศูนย์ โดยร่วมกับคณะ วศิ วกรรมศาสตร์มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบรุ ี ออกแบบและพัฒนาอุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล (Personal Protective Equipment, PPE) โดยร่วมกับบริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จําากัด (มหาชน) และหุ่นยนต์ลําาเลียงและ ส่ือสารระยะไกล เป็นต้น
ภาพท่ี 3 อุปกรณ์ Assistive laser walking
5. การวิจัยร่วมกับบริษัทขนาดใหญ่/รัฐวิสาหกิจ
5.1 บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จําากัด (มหาชน) เรื่อง การผลิตเครื่องล้างไตทางช่องท้องอัตโนมัติ
5.2 บรษิ ทั เดน็ โซ่ อนิ เตอรเ์ นชน่ั แนล เอเชยี จาํา กดั เรอ่ื ง การพฒั นากลอ่ งควบคมุ อณุ หภมู สิ าํา หรบั ขนสง่ ผลติ ภณั ฑย์ า และคลังเลือดให้มีความเหมาะสม
5.3 การยางแหง่ ประเทศไทยเรอ่ื งการพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ ทางการแพทย์จากยางพาราเพ่ือใช้ประโยชน์ในด้านการ ศึกษาและเชิงพาณิชย์
5.4 สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์และ โทรคมนาคมไทย และสถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การพัฒนาอุปกรณ์เคร่ืองอัดอากาศแรงดันบวกฯ
5.5 บรษิ ทั หาญ เอน็ จเิ นยี รง่ิ โซลชู น่ั ส์ จาํา กดั (มหาชน) และคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เร่ือง การ พิมพ์สามมิติด้วยวัสดุ Polymethyl Methacrylate (PMMA) และ Medical Grade Silicone
รายงานประจาปี 2563 97
     




















































































   97   98   99   100   101