Page 96 - รายงานประจำปี 2563 มหาวิทยาลัยมหิดล คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
P. 96

 94
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
มหาวิทยาลัยมหิดล
4.5 ความพึงพอใจของผู้ป่วย/ผู้บริจาคต่อการบริหาร ความปวด
แผนการดําาเนินงาน ปีงบประมาณ 2564
การบริหารจัดการข้อมูลเอกสาร ให้เป็นไปตามเกณฑ์ มาตรฐานของDSC/AHAประกอบการรองรบั การตรวจเยย่ี ม ภายใน Internal survey และแผนงานการขอยื่นต่ออายุการ รับรองรายโรค Re-Accredit DSC ของศูนย์ผู้ป่วยปลูกถ่าย เซลล์ต้นกําาเนิด
ผลการดําาเนินงาน
1.โครงการการให้ยาเคมีบําาบัดที่บ้าน (Home Chemotherapy Rama Model) เนื่องจากทรัพยากรมีจําากัด ทําาให้ส่งผลต่อการเข้าถึงบริการสาธารณสุขและคุณภาพ การรักษาพยาบาล จึงคิดค้นและเปลี่ยนแปลงรูปแบบการ บริหารยาเคมีบําาบัดแบบผู้ป่วยนอก แทนการบริหารยา แบบนอนโรงพยาบาล จากการดําาเนินงานพบว่าได้ผลดี มีความคุ้มค่า สามารถประหยัดเงินได้ถึง 52,970 บาท ต่อ 12 รอบการให้ยา ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น ซ่ึงปัจจุบัน ใช้ได้เฉพาะคนไข้สิทธิ์ข้าราชการเท่านั้น และดําาเนินการ ต่อยอด โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อขยายผลต่อยอดระบบการ บริหารยาเคมีบําาบัดที่บ้านสู่โรงพยาบาลอ่ืน ๆ ท่ัวประเทศ และเพื่อพัฒนาคุณภาพระบบบริการสาธารณสุขในการ รักษาพยาบาล ให้ผู้ป่วยมะเร็งเข้าถึงบริการอย่างเท่าเทียม ในทกุ ระบบบรกิ ารสขุ ภาพโดยโรงพยาบาลรามาธบิ ดีรว่ มกบั สําานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กรมการแพทย์ สถาบันมะเร็งแห่งชาติ และ 26 โรงพยาบาล ท่ีเข้าร่วม โครงการฯ พร้อมจัดอบรม Home Chemotherapy Train the Trainer Pilot Hospitals
    100
     80
     60
     40
     20
      0
5. ศูนย์มะเร็ง
     2561
2562 2563
Med Ped
  โรคมะเร็งเป็นโรคท่ีมีอุบัติการณ์ของผู้ป่วยใหม่เพิ่มขึ้น ในทุกปี สําาหรับผู้ป่วยมะเร็งที่เข้ารับการดูแลรักษาใน โรงพยาบาลรามาธิบดี ก็มีจําานวนที่เพิ่มมากข้ึนเช่นเดียวกัน ซึ่งการรักษาผู้ป่วยโรคมะเร็งจําาเป็นต้องได้รับการรักษาจาก แพทยเ์ ฉพาะทางหลายดา้ นแบบสหสาขา (Multidisciplinary approach)ศนู ยม์ ะเรง็ จงึ จดั ใหม้ หี นว่ ยตรวจผปู้ ว่ ยนอกแบบ สหสาขาด้านโรคมะเร็ง tumor conference และมีพยาบาล ประสานงานระหว่างผู้ป่วย บุคลากรทางการแพทย์ และ แพทย์ผู้รักษา โดยการดําาเนินงานด้านโรคมะเร็งของคณะฯ สร้างความเป็นเลิศในการบริการสุขภาพ ดังเห็นจากการที่ ศนู ยม์ ะเรง็ ไดผ้ า่ นการรบั รองรายโรคของ(DSC)เรอ่ื งการให้ ยาเคมีบําาบัดท่ีบ้าน (ปี 2562) และโรคมะเร็งปอด (ปี 2563)
นอกจากนี้ ศูนย์มะเร็งได้ส่งเสริมงานวิจัยและวิชาการ อย่างต่อเนื่อง เพ่ือให้คณะฯ เป็นศูนย์กลางความเป็นเลิศ ในด้านการรักษา การวิจัย และบริการวิชาการ
KPI > 90%
ร้อยละ













































































   94   95   96   97   98