Page 74 - รายงานประจำปี 2563 มหาวิทยาลัยมหิดล คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
P. 74

 72
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
มหาวิทยาลัยมหิดล
ในปี 2563 เนอ่ื งจากสถานการณ์ COVID-19 รปู แบบการ ตรวจประเมนิ คณุ ภาพภายใน(IQA:Internal Quality Assurance) ได้ปรับเป็นการตรวจประเมินข้อมูล/เอกสารหลักสูตรผ่าน ระบบออนไลน์ โดยหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาได้รับการ ตรวจประเมินคุณภาพภายในครบทุกหลักสูตร จําานวน 24 หลักสูตร ได้แก่ หลักสูตรปริญญาโท 18 หลักสูตร และ หลักสูตรปริญญาเอก 6 หลักสูตร ส่วนหลักสูตรแพทย์ ประจําาบ้าน แพทย์ประจําาบ้านต่อยอด ได้รับการตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน 50% จําานวน 56 หลักสูตร ดังนี้ หลักสูตรแพทย์ประจําาบ้าน 24 หลักสูตร หลักสูตรแพทย์ ประจําาบ้านต่อยอด 32 หลักสูตร
ด้านดูแลสุขภาพ คณะฯ รับการตรวจประเมินคุณภาพ สําาหรับการรับรองขั้นก้าวหน้า (Advanced HA) จาก สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) (สรพ.) โดยผู้เยี่ยมสําารวจเข้าประเมิน 3 คร้ัง และให้การ รับรองคุณภาพเมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2563 และ โรงพยาบาลรามาธิบดีจักรีนฤบดินทร์ สถาบันการแพทย์ จกั รนี ฤบดนิ ทร์ไดร้ บั การรบั รองมาตรฐาน Joint Commission International (JCI) มาตรฐานสถานพยาบาลระดับสากล เม่ือวันที่ 12 ตุลาคม 2562
คณะฯ รับการประเมินด้านวิจัยเพื่อสําารวจและประเมิน มาตรฐานการพิจารณาโครงการวิจัยด้านจริยธรรมจาก SIDCER/FERCAP เมื่อวันที่ 27 - 29 มิถุนายน 2562 ได้รับ การรับรองเมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2562
1.3 สง่ เสรมิ การพฒั นาคณุ ภาพ คณะฯ จดั ฝกึ อบรม และให้คําาปรึกษากลุ่มกิจกรรมคุณภาพ พัฒนาความรู้ของ บคุ ลากรในเรอ่ื งคณุ ภาพอยา่ งตอ่ เนอ่ื งเพอ่ื เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพ การทําางานมากข้ึน โดยกําาหนดระดับของผู้รับการอบรม เปน็ ผบู้ รหิ ารfacilitatorและบคุ ลากรซงึ่ คณะฯจดั อบรมตาม หัวข้อต่าง ๆ ดังนี้
เคร่ืองมือคุณภาพ (3P/Kaizen/CQI/ work system & work process) จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเก่ียวกับ เครื่องมือคุณภาพต่าง ๆ เช่น หลักสูตร CQI-Kaizen ให้บุคลากรสังกัดฝ่ายการพยาบาลฯ และการประยุกต์ใช้ Control Chart เพื่อพัฒนาผลงานกิจกรรมด้านคุณภาพ
เกณฑค์ ณุ ภาพ(TQA/EdPEx/AUN-QA/WFME/ AHA/DSC/ISO)จดั อบรมการเขยี นแบบประเมนิ ตนเองและ การตรวจประเมิน หลักสูตร EdPEx Criteria และ Assessor
หลักสูตร WFME Criteria และ Writing หลักสูตร TQA Criteria และหลักสูตร AUN-QA Assessor
คณะฯ จดั อบรมการใช้ 3C-PDSA เพอ่ื นาํา สกู่ ารปฏบิ ตั ใิ ห้ กับบุคลากรกลุ่มภารกิจดูแลสุขภาพ อบรมหลักสูตรบทบาท ผู้นําาเพ่ือความสําาเร็จสู่ A-HA ให้กับหัวหน้าฝ่าย/งาน/หน่วย ในระบบดูแลสุขภาพ (Healthcare Cluster) และกิจกรรม เสน้ ทางสคู่ วามเปน็ เลศิ ดา้ นการดแู ลสขุ ภาพ(Ramathibodi Healthcare Journey to Excellence) (Episode 6 Do it now) และโครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านความปลอดภัย ผู้ป่วยและบุคลากร (Patient & Personnel Safety)
2. ด้านจัดการความรู้
2.1 การส่งเสริมการจัดการความรู้ คณะฯ พัฒนา ศกั ยภาพนกั ถอดบทเรยี นโดยใหเ้ ขา้ รว่ มการฝกึ ปฏบิ ตั จิ รงิ ใน การถอดบทเรียนงานมหกรรมคุณภาพ รวมท้ังการประชุม/ สัมมนาพันธกิจด้านการศึกษา
2.2 การเผยแพร่ความรู้ คณะฯ รวบรวมองค์ความรู้ โดยจัดเก็บผ่าน Website KM บน Intranet เผยแพร่ให้แก่ บุคลากรภายในคณะฯ ในงานมหกรรมคุณภาพ และส่ง ประกวดภายนอกคณะฯ เช่น มหาวิทยาลัยมหิดล สมาคม ส่งเสริมคุณภาพแห่งประเทศไทย (QCC) สําานักงานคณะ กรรมการพัฒนาระบบราชการ (กพร.) เป็นต้น
นอกจากนี้ ในช่วงสถานการณ์โรคระบาด COVID-19 มีการจัดทําาหนังสือถอดบทเรียน COVID-19 ซ่ึงรวบรวม ประสบการณ์และองค์ความรู้จากบุคลากรทางการแพทย์ เผยแพร่ผ่านเว็บไซต์
     



















































































   72   73   74   75   76