ทุกคนมีความกลัวที่แตกต่างกันออกไป บางคนอาจกลัวในเรื่องแปลก ๆ เช่น กลัวที่แคบ กลัวความมืด หรือกลัวความสูง ซึ่งความกลัวเหล่านี้ถ้าไม่สามารถควบคุมหรือมีระดับความรุนแรงมากขึ้น จะส่งผลกระทบกับร่างกายและจิตใจ อาจมีโอกาสเสี่ยงเป็นโรคที่เรียกว่า โรคกลัวหรือโรคโฟเบีย ได้

เราเป็นห่วงทุกคนจึงได้ไปขอความรู้ดี ๆ จาก ผศ. นพ.คมสันต์ เกียรติรุ่งฤทธิ์ สาขาจิตเวชศาสตร์เด็กและวัยรุ่น ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล มาฝากทุกคนให้เข้าใจและรับมือกับภาวะนี้ได้ดียิ่งขึ้น

👉 โรคโฟเบีย ?
👉 โรคโฟเบีย แบ่งออกได้กี่ประเภท
👉 สาเหตุที่ทำให้เกิดโรคโฟเบีย
👉 โรคโฟเบีย มีอันตรายถึงชีวิตหรือไม่
👉 วิธีรักษาโรคโฟเบีย

อย่าลืมกดติดตามช่อง Rama Channel ที่น่าสนใจอีกมากมายได้ที่
Website: https://www.rama.mahidol.ac.th/ramachannel/
Youtube: https://www.youtube.com/RamachannelTV
Line: https://page.line.me/ramathibodi

แท็กที่เกี่ยวข้อง

แชร์
นอนมากเกินไป เสี่ยงภาวะซึมเศร้าจริงหรือไม่
การนอนมากเกินไปอาจเสี่ยงต่อภาวะซึมเศร้าได้ เนื่องจากส่งผลต่อสมดุลฮอร์โมนและสุขภาพจิต ควรปรับการนอนให้เหมาะสมเพื่อสุขภาพที่ดี
Smiling Depression กลไกการป้องกันผู้ป่วยซึมเศร้า
Smiling Depression ภาวะซึมเศร้าที่ซ่อนอยู่หลังรอยยิ้ม ผู้ป่วยดูเหมือนปกติ แต่ภายในทุกข์ใจ ควรสังเกตอาการและสนับสนุนให้เข้ารับการรักษา
เป็น โรคแพนิก หายเองได้หรือไม่ ?
โรคแพนิกไม่สามารถหายเองได้ ควรเข้ารับการรักษา เช่น การบำบัดและใช้ยา เพื่อควบคุมอาการและฟื้นฟูสุขภาพจิตให้กลับมาเป็นปกติ
รับมืออย่างไร เมื่อคนในครอบครัวเป็น โรคซึมเศร้า ?
รับมือเมื่อคนในครอบครัวเป็นโรคซึมเศร้า ด้วยการรับฟังอย่างเข้าใจ ไม่ตัดสิน และสนับสนุนให้เข้ารับการรักษาเพื่อช่วยฟื้นฟูสุขภาพจิต