ภาวะกลืนลำบาก เป็นผลที่เกิดจากสมอง ส่งผลให้การส่งอาหารจากช่องปากลงไปยังกระเพาะอาหารเกิดความผิดปกติ ซึ่งอาจทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนที่ร้ายแรง และเสียชีวิตได้
.
วันนี้เรามาศึกษาเรื่อง รู้จัก “ภาวะกลืนลำบาก” อาการนี้อันตรายถึงชีวิต ด้วยความรู้ดี ๆ จาก ผศ. ดร. นพ.ไพฑูรย์ เบ็ญจพรเลิศ ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดลเอาไว้เพื่อเป็นความรู้ไว้ป้องกันอันตรายทางสุขภาพของทุกคน
.

  • 👉 ภาวะกลืนลำบาก คืออะไร ?
  • 👉 ภาวะกลืนลำบาก เกิดขึ้นจากสาเหตุใด ?
  • 👉 ภาวะกลืนลำบาก สามารถเกิดขึ้นกับใครบ้าง ?
  • 👉 อาการของภาวะกลืนลำบาก
  • 👉 ท่าบริหารสำหรับผู้ป่วยภาวะกลืนลำบาก
  • 👉 วิธีป้องกันภาวะกลืนลำบาก

.
#ภาวะกลืนลำบาก #กลืนลำบาก #สำลักอาหาร #รามาแชนแนล #Ramachannel #ขับเคลื่อนสังคมไทยให้สุขภาพดี

อย่าลืมกด Subscribe ติดตามรายการดี ๆ ในช่องและ ติดตาม RAMA Channel ได้ที่

Website: https://www.rama.mahidol.ac.th/ramachannel/
Website Ramathibodi: https://www.rama.mahidol.ac.th/
Facebook: https://www.facebook.com/ramachannel
Line: https://page.line.me/ramathibodi

แท็กที่เกี่ยวข้อง

แชร์
นอนมากเกินไป เสี่ยงภาวะซึมเศร้าจริงหรือไม่
การนอนมากเกินไปอาจเสี่ยงต่อภาวะซึมเศร้าได้ เนื่องจากส่งผลต่อสมดุลฮอร์โมนและสุขภาพจิต ควรปรับการนอนให้เหมาะสมเพื่อสุขภาพที่ดี
Smiling Depression กลไกการป้องกันผู้ป่วยซึมเศร้า
Smiling Depression ภาวะซึมเศร้าที่ซ่อนอยู่หลังรอยยิ้ม ผู้ป่วยดูเหมือนปกติ แต่ภายในทุกข์ใจ ควรสังเกตอาการและสนับสนุนให้เข้ารับการรักษา
เป็น โรคแพนิก หายเองได้หรือไม่ ?
โรคแพนิกไม่สามารถหายเองได้ ควรเข้ารับการรักษา เช่น การบำบัดและใช้ยา เพื่อควบคุมอาการและฟื้นฟูสุขภาพจิตให้กลับมาเป็นปกติ
รับมืออย่างไร เมื่อคนในครอบครัวเป็น โรคซึมเศร้า ?
รับมือเมื่อคนในครอบครัวเป็นโรคซึมเศร้า ด้วยการรับฟังอย่างเข้าใจ ไม่ตัดสิน และสนับสนุนให้เข้ารับการรักษาเพื่อช่วยฟื้นฟูสุขภาพจิต