มาตรฐานการใช้สารทึบรังสีและแนวทางการเตรียมตัวก่อนใช้สารทึบรังสี Practical Points for Using Contrast Media

 

มาตรฐานการใช้สารทึบรังสีและแนวทางการเตรียมตัวก่อนใช้สารทึบรังสี (Practical Points for Using Contrast Media)

 

 

การตรวจสืบคนเพื่อการวินิจฉัยโรคในปจจุบันมี หลากหลายวิธี การสรางภาพดวยเรโซแนนซแมเหล็กหรือการ ตรวจเอ็กซเรยดวยคลื่นแมเหล็กไฟฟา (magnetic resonance imaging, MRI), การถายภาพรังสีสวนตัดอาศัยคอมพิวเตอร (computed tomography, CT) และเครื่องเอกซเรยทั่วไป และเครื่องเอกซเรยพิเศษ (plain radiography and fluorography radiology) เปนวิธีการหนึ่งที่ชวยใหการ วินิจฉัยโรคของผูปวยถูกตอง แมนยำ รวดเร็วขึ้น ตัวชวยที่ สำคัญในการวินิจฉัยโรคจากเครื่องตรวจตาง ๆ เหลานี้คือ สารทึบรังสี (contrast media) ซึ่งมีความจำเพาะในการใช ในแตละเครื่องตรวจ อาทิเชน การตรวจดวยเครื่อง MRI ใช contrast media คือแกโดลิเนียม (gadolinium) สวนใหญ จะเรียกชื่ออยางเปนทางการวาสารเพิ่มความเขมสนาม แมเหล็ก การตรวจดวยเครื่อง CT ใช iodinated contrast media เปนตน Iodinated contrast media เปนสารทึบรังสีที่มี สวนประกอบของไอโอดีนกับอินทรียสาร เมื่อนำเขาสูรางกาย จะเพิ่มความแตกตางของภาพเอกซเรยของอวัยวะที่ตองการ ตรวจไดชัดเจน ชวยใหการวินิจฉัยโรคแมนยำขึ้น โดย สามารถบอกตำแหนงของรอยโรค หรือโครงสรางอวัยวะที่ผิด ปกติได การนำสารทึบรังสีเขาสูรางกายทำไดหลายวิธี เชน โดยการดื่ม สวนเขาทางทวารหนัก ฉีดเขาทางหลอดเลือดดำ (intravenous injection, IV) และฉีดเขาทางหลอดเลือด แดง (intra-arterial injection, IA) สารทึบรังสีจะถูกขับออก ทางปสสาวะภายใน 24–48 ชั่วโมงหลังการฉีด ตัวอยางของ การตรวจที่ใช iodinated contrast Media คือการตรวจ ดวยเครื่อง CT, intravenous pyelography (IVP), angiography และ venography

                                                                                                                                                                                                                                                                                                            (อ่านต่อ)