ตารางที่ 1 กลไกการเกิดพิษของสารพิษ

 

พิษจลนศาสตร์และพิษพลศาสตร์

ตารางที่ 1 กลไกการเกิดพิษของสารพิษ (ปรับปรุงจาก Amdur MO, Doull J, Klaassen CD. Casarett and Doull's Toxicology: the basic science of poisons. 4th ed. New York: Pergamon press,1991:13.)
 
ผลต่อปฏิกิริยาต่อกันระหว่าง receptor กับ ligand
  • Neuroreceptors และ neurotransmitters เช่น atropine, strychnine, LSD, antihistamines
  • Hormone receptors เช่น DES, goitrogens
  • Enzymes เช่น organophosphates, cyanide, sodium fluoroacetate
  • Transport proteins เช่น carbon monoxide, nitrites
ผลต่อ membranes
  • Excitable membranes เช่น iron flux, DDT และ membrane fluidity เช่น organic solvents, ethanol
  • Membranes ใน organelles เช่น lysosomal membranes เช่น CCl4 และ mitochondrial membranes เช่น organotins
ผลต่อการสร้างพลังงานของเซลล์
  • การนำ oxygen เข้า tissues เช่น CO, nitrite
  • การเกิด oxidative phosphorylation เช่น nitrophenols
  • การยับยั้ง electron transport เช่น rotenone
  • การยับยั้ง carbohydrate metabolism เช่น fluoroacetate
การจับกับชีวโมเลกุล
  • การเปลี่ยนแปลงการทำงานของเอ็นไซม์
  • การเกิด lipid peroxidation เช่น CCl4, paraquat
  • ทำให้เกิด free radical และเพิ่มการสะสม lipid hydroperoxides
  • การเกิด oxidative stress เช่น การขาด GSH จากพิษของ acetaminophen และการเกิด oxidation ของ protein thiols
การจับกับ nucleic acids เช่น DNA, RNA
  • การเปลี่ยนแปลงสมดุลย์ของ calcium
  • การเปลี่ยนแปลงของ cytoskeletal
  • การกระตุ้น phospholipases
  • การกระตุ้น proteases
  • การกระตุ้น endonucleases
การทำลายเซลล์บางชนิด
  • การเกิดภาวะฮอร์โมนไม่สมดุลย์เช่น การสูญเสีย dopaminergic neurons, ไธรอยด์เป็นพิษ
  • ความผิดปกติของทารกแรกเกิด
การเปลี่ยนแปลงสารทางพันธุกรรม
  • มะเร็ง
  • ความผิดปกติของทารกแรกเกิด