ผลงานวิจัยปี 2557

เรื่อง
1 นพ.สุภเชษฐ์ ชีรณวานิช
ภาษาไทย: การศึกษาความเกี่ยวข้องระหว่าง Factor V Leiden และสาเหตุการเกิดโรค Perthes Disease ในเด็กไทย
ภาษาอังกฤษ: Association between Factor V Leiden and Etiology of Perthes Disease in thai children: case control study
 
2 นพ.สรวุฒิ ธรรมยงค์กิจ
ภาษาไทย: การเปรียบเทียบความหนาแน่นมวลกระดูกในกลุ่มเด็กน้ำหนักเกินกับกลุ่มเด็กน้ำหนักปกติ
ภาษาอังกฤษ: Bone Mineral Density in non-obese compared with obese children
 
3 นพ.ภัคณัฎฐ์ ศิริจตุพร
ภาษาไทย: ศึกษาเปรียบเทียบอัตราการติดเชื้อหลังผ่าตัดในการทำความสะอาดบริเวณผ่าตัดด้วยเทคนิค
ปกติ (standard method)กับการทาด้วยยาฆ่าเชื้อโดยไม่ฟอก (double-painted antiseptic
application)
ภาษาอังกฤษ: A comparison of postoperative surgical infection between standard and double-
painted antiseptic application method, double-blinded prospective randomized
controlled trial
 
4 นพ.กุลพัชร จุลสำลี
ภาษาไทย: การศึกษาหาปัจจัยเสี่ยงที่จะนำไปสู่การเสียชีวิต และภาวะแทรกซ้อนหลังการผ่าตัดสะโพกแบบเร็วในผู้ป่วยกระดูกสะโพกหักที่มีภาวะกระดูกพรุน
ภาษาอังกฤษ: Predictive factor analysis of poor outcomes after early hip surgery in
osteoporotic hip fracture patient.
 
5 นพ.สิริศักดิ์ บูรณวัฒนาโชค
ภาษาไทย: โครงการศึกษาหาค่าปกติของความสัมพันธ์ของกระดูกสันหลังและกระดูกเชิงกราน spinopelvic alignment ในประชากรไทย
ภาษาอังกฤษ: Spinalpelvic alignment on Standing Lateral Radiograph of Thai adults
6 นพ.อนันต์ ธาราชีวิน
ชื่อภาษาไทย: การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการรักษาภาวะติดเชื้อที่ข้อเข่าหลังการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม
ภาษาอังกฤษ: Factor Affecting the treatment of Periprosthethic Knee Infection (Retrospective
Case Control Study)
 
7 นพ.วินัย จังสมบัติศิริ
ภาษาไทย: การศึกษาเปรียบเทียบผลของการใช้การบริหารเพิ่มความแข็งแรงกล้ามเนื้อหน้าขาแบบ
ประยุกต์และบริหารเพิ่มความแข็งแรงกล้ามเนื้อหน้าขาแบบมาตรฐานในการรักษาข้อเข่าเสื่อม
ภาษาอังกฤษ: Randomized control trial of synchronous quadriceps exercise VS quadriceps
strenthening exercise for treatment OA knee
 
8 นพ.ชัชพล ธนารักษ์
ภาษาไทย: การศึกษาเอ็นไขว้หน้าโดยวิเคราะห์จุดเกาะด้านกระดูกน่องใหญ่จากภาพการตรวจคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ภาษาอังกฤษ: Anterior Cruciate Ligament (ACL) MRI Analysis of the Tibia Attatchment
 
9. นพ.ชวรัฐ จรุงวิทยากร
ภาษาไทย: การเปรียบเทียบผลการรักษาการฉีดยาสเตียรอยด์เข้าโพรงประสาทกระดูกสันหลัง ระหว่างวิธีฉีด
เข้าทางด้านข้างผ่านทางออกของรากประสาท และฉีดเข้าผ่านแนวกลางระหว่างกระดูกสันหลัง
สองข้อ เพื่อรักษาภาวะโพรงประสาทกระดูกสันหลังตีบแคบในโรงพยาบาลรามาธิบดี
ภาษาอังกฤษ: Prospective RCT of treatment between interlaminar and transforaminal
epidural steriod injection for the treatment of multiple level lumbar spinal
stenosis in Ramathibodi Hospital