Page 115 - รายงานประจำปี 2563 มหาวิทยาลัยมหิดล คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
P. 115

 ศูนย์นโยบายและการจัดการสุขภาพ
สนับสนุนพันธกิจด้านงานวิจัยและพันธกิจด้านงาน ระบบดูแลสุขภาพที่มีผลกระทบสูงและมีความสําาคัญต่อ ประเทศ จดั ตงั้ เมอ่ื ปี 2557 โดยมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื สรา้ งระบบ เพอื่ สนบั สนนุ การพฒั นาองคค์ วามรู้การวจิ ยั ระบบการดแู ล สุขภาพและการบริการวิชาการด้านนโยบายสุขภาพ ผ่าน กลไกการประสานงานทั้งหน่วยงานภายในและภายนอก ในการขับเคลื่อนองค์ความรู้ที่มีอยู่จําานวนมากของคณะฯ ไปสู่การเป็นนโยบายสุขภาพทั้งในเวทีระดับชาติและระดับ นานาชาติเพอื่ ใหเ้กดิ ผลกระทบทดี่ ตี อ่ สขุ ภาพของประชาชน สอดคล้องกับปณิธานของมหาวิทยาลัยมหิดล ในการเป็น ปัญญาของแผ่นดิน
ผลการดําาเนินงาน
1. การผลกั ดนั องคค์ วามรู้ งานวจิ ยั และงานระบบดแู ล สุขภาพของคณะฯ ให้ไปสู่นโยบายสุขภาพระดับชาติ มีผลงานที่โดดเด่น ดังนี้
1.1 การผลักดันให้เกิดเป็นนโยบายสาธารณะเพ่ือ สขุ ภาพเรอ่ื ง“รวมพลงั ชมุ ชนตา้ นมะเรง็ ”โดยไดร้ บั การรบั รอง ให้เป็นมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติครั้งที่ 12
ศูนย์นโยบายและการจัดการสุขภาพ ประสานกับทีม แพทย์ผู้เชี่ยวชาญในสาขาโรคมะเร็งจากโรงเรียนแพทย์ ชั้นนําาและสถาบันมะเร็งแห่งชาติ ในการขับเคล่ือนให้เกิด กลมุ่ เครอื ขา่ ยภาควชิ าการประกอบดว้ ยคณะแพทยศาสตร์ ศริ ริ าชพยาบาลคณะแพทยศาสตร์จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั วิทยาลัยวิทยาศาสตร์การแพทย์เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์ และคณะ แพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี โดยมี รศ.นพ.เอกภพ สริ ะชยั นนั ท์อาจารยป์ ระจาํา ภาควชิ าอายรุ ศาสตร์เปน็ ผแู้ ทน เข้าร่วมเครือข่าย โดยร่วมกันผลักดันข้อเสนอ “การรวมพลัง ชุมชนต้านมะเร็ง” เข้าสู่สมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 12 ได้สําาเร็จ ซึ่งผลจากการได้การรับรองเป็นมติสมัชชาสุขภาพ ทําาให้หน่วยงานต่างๆ ท้ังในและนอกกระทรวงสาธารณสุข เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในการกําาหนดแผนงานและนโยบายท่ี จะร่วมกันรับผิดชอบตามบทบาทของแต่ละหน่วยงาน เช่น เครือข่ายส่ือท้ังสื่อภาครัฐและส่ือเอกชน เครือข่ายผู้ป่วย องค์กรศาสนา ภาคการศึกษา เครือข่ายภาคประชาสังคม
เครอื ขา่ ยผบู้ รโิ ภค ภาคเี ครอื ขา่ ยวชิ าการ/วชิ าชพี และเครอื ขา่ ย อื่น ๆ โดยมติ “รวมพลังชุมชนต้านมะเร็ง” จะแบ่งหน้าท่ี ความรบั ผดิ ชอบใหก้ บั ภาคเี ครอื ขา่ ยตา่ ง ๆ ออกเปน็ 5 ขอ้ ซงึ่ สามารถศกึ ษาขอ้ มลู ไดท้ ่ี https://infocenter.nationalhealth. or.th/node/28143
ท้ังน้ี เครือข่ายภาควิชาการจะทําาหน้าท่ีสนับสนุนและ สง่ เสรมิ ประชาชนใหต้ ระหนกั รเู้ รอื่ งการตรวจสขุ ภาพประจาํา ปี เพ่ือคัดกรองโรคมะเร็ง โดยมีแผนงานที่จะพัฒนาจากพื้นที่ ชุมชนต้นแบบของจังหวัดและขยายไปยังจังหวัดต่าง ๆ ใน ภูมิภาคเดียวกัน ซึ่งในแต่ละภูมิภาคจะมีโรงเรียนแพทย์ ร่วมรับผิดชอบ
1.2 การผลักดันมาตรฐานระบบการดูแลสุขภาพใน กลุ่มผู้ป่วยมะเร็งท่ีได้รับยาเคมีบําาบัดที่บ้าน
ภายหลังจากท่ีคณะฯ ได้รับรองมาตรฐานกระบวนการ รับรองเฉพาะโรค (Disease Specific Certification - DSC) ในกลุ่มผู้ป่วยมะเร็งได้รับยาเคมีบําาบัดที่บ้าน จากสถาบัน รับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) (สรพ.) เมื่อปลายปี 2562 คณะฯ ได้มีการประมวลสาระความรู้ และต้องการนําามาตรฐานการดูแลน้ีไปใช้ประโยชน์ให้กับ ระบบสาธารณสุขของไทย จึงได้จัดประชุมคณะกรรมการ สง่ เสรมิ การวจิ ยั เพอ่ื การใชป้ ระโยชนเ์ ชงิ นโยบายและสงั คมขน้ึ โดยมคี ณะกรรมการหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติเขา้ รว่ มให้ ข้อคิดเห็น และมอบหมายให้ศูนย์นโยบายและการจัดการ สุขภาพดําาเนินการขับเคลื่อนงานให้เกิดเป็นรูปธรรม ซ่ึง ภายหลังจากการท่ีได้ขับเคลื่อนตามมติดังกล่าว สําานักงาน หลักประกันสุขภาพแห่งชาติก็ได้ให้ความร่วมมือในการ สนับสนุนค่าใช้จ่ายในการรักษาให้กับประชาชน
นอกจากนี้ยังได้รับความร่วมมือจากกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข รับมติดังกล่าวนําาไปขยายผลในการ รกั ษาผปู้ ว่ ยมะเรง็ ลาํา ไสใ้ หญ่ และลาํา ไสต้ รงทบี่ า้ น โดยนาํา รอ่ ง ในสถานพยาบาลท่ีมีความพร้อมรักษาโรคมะเร็ง 7 แห่ง และมีแผนจะเปิดในสถานพยาบาลทุกเขตสุขภาพ 30 แห่ง ในปี 2565 ทําาให้ประชาชนได้รับยาเคมีบําาบัดกลับบ้าน รบั ยาไดต้ รงเวลาไมต่ อ้ งนอนโรงพยาบาลทง้ั นส้ี ามารถศกึ ษา ข้อมูลได้ที่ https://www.thaigov.go.th/news/contents/ details/33254
รายงานประจาปี 2563 113
 






















































































   113   114   115   116   117